แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดลPosted in: ข้อมูลของแต่ล การแปล - แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดลPosted in: ข้อมูลของแต่ล ไทย วิธีการพูด

แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิ

แกะรอยเศรษฐกิจและการค้าการลงทุน..สิงคโปร์โมเดล
Posted in: ข้อมูลของแต่ละประเทศในAEC, บทความ AEC สำคัญที่ควรอ่าน 11 มีนาคม 2557
การเป็นประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกล้จะตามมาด้วยการเปิดเสรีด้านการลงทุนในแถบภูมิภาคนี้ ซึ่งจะส่งผลต่อการลงทุนในภูมิภาคนี้อย่างแน่นอน หลายประเทศทั่วโลกมองกลุ่มประเทศอาเซียนว่าน่าสนใจลงทุน และแต่ละประเทศก็มีจุดดีและจุดด้อยที่แตกต่างกันไป การที่สิงคโปร์สามารถก้าวมาเป็นผู้นำด้านการค้า การลงทุนและการเงินของอาเซียน ไม่ใช่เป็นเพราะเพิ่งเริ่มวางแผนและทำเมื่อไม่กี่ปีมานี้ แต่เป็นการวางแผนและได้เดินตามแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาประเทศมาเป็นเวลานานถึงกึ่งศตวรรษ

สิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่เมื่อประมาณ 50 กว่าปีมานี่เอง คือ ตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1960 รัฐบาลสิงคโปร์ สมัยของนายลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีคนแรกได้มองเห็นถึงข้อจำกัดของสิงคโปร์ที่มีประชากรน้อยแต่มีความหลากหลายเชื้อชาติของประชากร (ส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน) มีขนาดตลาดเล็กทำให้มีกำลังซื้อจำกัด มีทรัพยากรธรรมชาติน้อย แม้แต่น้ำดื่มในขณะนั้นก็ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ข้อดีของสิงคโปร์คือมีมันสมองหรือทรัพยากรบุคคลมาก ประกอบกับสิงคโปร์เป็นประเทศเกิดใหม่ รัฐบาลจึงต้องการสร้างเอกลักษณ์และหาทางอยู่รอดในการหารายได้มาพัฒนาประเทศ นายลี กวน ยู จึงได้วางยุทธศาสตร์ภายใต้จุดแข็งและความได้เปรียบของสิงคโปร์ 2 ประการ คือ

1.ทำเลที่ตั้งที่อยู่ใต้สุดของแหลมมลายู ทำให้มีความเหมาะสมแก่การเป็นเมืองท่าทางการขนส่งคมนาคมทางทะเลเชื่อมโยงระหว่างประเทศในเอเชียกับยุโรปและแอฟริกา

2.ใช้ความสามารถทางการค้าขายเพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจการค้าเสรี โดยสร้างกลไกและโครงสร้างรัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนของภูมิภาค จะเห็นได้ว่าในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มีนโยบายพัฒนาให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนมาตั้งแต่แรกเริ่ม โดยสร้างกลไกภาครัฐเพื่อสนับสนุนและรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการเงินของภูมิภาค การดำเนินนโยบายศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไปแต่ทว่าสัมฤทธิ์ผล ภายในปี 1980 สิงคโปร์กลายเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุนที่สำคัญของภูมิภาค และปัจจุบันสิงคโปร์เป็นแหล่งรวมสถาบันการเงินชั้นนำจากทั่วโลก และยังเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่สำคัญแห่งหนึ่ง ของโลกอีกด้วย

ในยุคถัดมาภายใต้การนำของนายโก จ๊ก ตง เป็นยุคที่เศรษฐกิจสิงคโปร์มีความรุ่งเรืองมาก รัฐบาลยังมุ่งเน้นให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าและการเงินเช่นนโยบายเดิมและเป็นประตูสู่ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และในยุคนี้แม้ว่าสิงคโปร์จะเผชิญผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในเอเชียอยู่บ้างแต่ก็สามารถ ผ่านพ้นมาได้ ทั้งยังมีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นด้วย นอกจากนี้ สิงคโปร์ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ทำให้กลายเป็นประเทศที่มีระบบคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้ ประกอบกับสิงคโปร์เป็นหนึ่งในประเทศที่มีการขนส่งทางเรือระหว่างประเทศมากที่สุดในโลก จึงเป็นผู้นำในภูมิภาคด้านการต่อเรือและซ่อมแซมเรือ ทั้งยังได้รับการยอมรับให้เป็นศูนย์กลางทางการบินที่สำคัญในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ส่วนด้านการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมการผลิต

ในช่วงแรกสิงคโปร์เน้นการพัฒนาผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ แต่เมื่อเกิดวิกฤติดอตคอม(ปี 2003) รัฐบาลสิงคโปร์ได้หันมาส่งเสริมสินค้าไฮเทคระดับสูง เช่น ด้านระบบสารสนเทศและข้อมูล ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ด้านเคมี และอื่นๆ ซึ่งไม่อ่อนไหวไปตามภาวะของตลาด นอกจากนี้ รัฐบาลสิงคโปร์ได้ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ความสามารถในเทคโนโลยีใหม่ๆ มุ่งเน้นให้อุตสาหกรรมการผลิตทั่วๆ ไปปรับเปลี่ยนตนเองให้เป็นอุตสาหกรรมที่มีความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีหรือใช้ความรู้/ทักษะขั้นสูง ทั้งยังพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมให้เป็นแรงงานที่มีทักษะ(Skilled Labor) ทำให้เป็นที่ต้องการของตลาดและมีค่าแรงที่สูงขึ้นตามลำดับ และเป็นการลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติ

ในยุคปัจจุบัน นายลี เซียน ลุง นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร์ได้ตระหนักดีว่าความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์ รัฐบาลสิงคโปร์ยังมุ่งเน้นการกระตุ้นศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค ในภาคการพัฒนาธุรกิจโดยทั่วไปรัฐบาลมี นโยบายเร่งสร้างพันธมิตรทางการค้ามากมายและมีนโยบายสนับสนุนให้นักธุรกิจชาวสิงคโปร์ออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น เช่น มีการยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทที่ไปลงทุนนอกประเทศ รัฐบาลส่งเสริมให้บริษัทสิงคโปร์ไปลงทุนในต่างประเทศสูงมาก เช่น เน้นการลงทุนใน พม่า อินโดนีเซีย และมาเลเชีย ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพภาคการผลิตสูงและต้นทุนถูก และในขณะเดียวกันก็พยายามดึงดูดการลงทุนของต่างชาติเข้ามาในประเทศให้มากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่ามีบริษัทข้ามชาติสามารถจัดตั้ง Holding Company ในสิงคโปร์แต่นำเงินไปลงทุนในประเทศที่สามอีกต่อได้เพื่อลดภาระภาษี ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ แม้จะมีแนวโน้มลดลงและปรับเปลี่ยนไปเป็นการลงทุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น สาขา อิเล็กทรอนิกส์ ปิโตรเคมี เทคโนโลยีชีวภาพ และวิศวกรรมขั้นสูง เป็นต้น รัฐบาลสิงคโปร์ยุคนี้ให้ความสำคัญกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์ควบคู่กันไปด้วย จึงเป็นแรงสนับสนุนให้บริษัทใหญ่ๆ จากทั่วโลกเข้ามาตั้งสำนักงานในสิงคโปร์

นอกจากนี้ รัฐบาลส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ เพื่อสร้างสรรค์ให้สิงคโปร์เป็นผู้นำและเป็นศูนย์กลางในเรื่องการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ขั้นสูงแห่งหนึ่งของโลกทั้งด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อดิจิตอล และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีเป้าหมายให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อดิจิตัลภายในปี 2015 (พ.ศ. 2558)

ข้อเด่นอีกประการหนึ่งคือ สิงคโปร์มีความเชี่ยวชาญในภาคของอุตสาหกรรมบริการโดยเฉพาะการให้บริการทางการเงินและการท่องเที่ยวมาเป็นเวลายาวนาน โดยกว่า 60% ของเม็ดเงินการลงทุนอยู่ในภาคบริการทางการเงินและการท่องเที่ยว รัฐบาลให้ความสำคัญกับภาคบริการเป็นอย่างมาก โดยเน้นภาคการค้า การลงทุ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!

ในข้อมูลของแต่ละประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบทความสำคัญที่ควรอ่าน 11 มีนาคม
การลงทุนและการเงินของอาเซียน 50 กว่าปีมานี่เองคือตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 1960 รัฐบาลสิงคโปร์สมัยของนายลีกวนยู (ส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน) มีทรัพยากรธรรมชาติน้อย นายลีกวนยู 2 ประการ ภายในปี 1980 จ๊กตง ผ่านพ้นมาได้ นอกจากนี้ ที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภาคนี้ แต่เมื่อเกิดวิกฤติดอตคอม (ปี 2003) เช่นด้านระบบสารสนเทศและข้อมูลด้านเทคโนโลยีชีวภาพด้านเคมีและอื่น ๆ ซึ่งไม่อ่อนไหวไปตามภาวะของตลาดนอกจากนี้ มุ่งเน้นให้อุตสาหกรรมการผลิตทั่วๆ แรงงาน) นายลีเซียนลุง เช่น เช่นเน้นการลงทุนในพม่าอินโดนีเซียและมาเลเชีย โฮลดิ้ง ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศ เช่นสาขาอิเล็กทรอนิกส์ปิโตรเคมีเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมขั้นสูงเป็นต้น จึงเป็นแรงสนับสนุนให้ บริษัท ใหญ่ ๆ สื่อดิจิตอลและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2015 (พ.ศ. 2558) ข้อเด่นอีกประการหนึ่งคือ โดยกว่า 60% โดยเน้นภาคการค้าการลงทุ















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: